โครงการรับตรง ในภาคตะวันออก 12 จังหวัด ม.บูรพา 2557

โครงการรับตรง ในภาคตะวันออก 12 จังหวัด ม.บูรพา 2557

มหาวิทยาลัยบูรพา รับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรงในภาคตะวันออก 12 จังหวัด ประจำปีการศึกษา 2557

ข่าวด่วน

กําหนดการรับสมัคร

  • 6 มกราคม – 12 กุมภาพันธ์ 2557
  • 3 กุมภาพันธ์ – 8 เมษายน 2557

สาขาที่เปิดรับ

  • คณะพยาบาลศาสตร์ (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ — 60 คน
  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    • (ภาคปกติ)
      • สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กลุ่มสารสนเทศศึกษา — 15 คน
      • สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กลุ่มบรรณาธิการศึกษา — 20 คน
      • สาขาวิชาภาษาจีน (ต้องเรียนวิชาภาษาจีนในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย) — 10 คน
      • สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น (ต้องเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย) — 10 คน
      • สาขาวิชาภาษาเกาหลี — 10 คน
      • สาขาวิชาประวัติศาสตร์ — 12 คน
      • สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา — 10 คน
      • สาขาวิชาภาษาไทย — 24 คน
      • สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน — 10 คน
      • สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร — 15 คน
      • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ — 10 คน
      • หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (แผนการเรียนวิทย์-คณิต/ศิลป์-คำนวณ) — 20 คน
      • หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต — 60 คน
      • สาขาวิชาจิตวิทยา กลุ่มจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ — 20 คน
      • สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม — 12 คน
      • สาขาการจัดการบริการลังคม — 15 คน
    • (ภาคพิเศษ)
      • หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต — 60 คน
      • สาขาวิชาจิตวิทยา กลุ่มจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ — 20 คน
      • หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (แผนการเรียนวิทย์-คณิต/ศิลป์-คำนวณ) — 20 คน
      • สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา — 20 คน
      • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ — 20 คน
      • สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กลุ่มสารสนเทศศึกษา — 15 คน
      • สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม — 12 คน
  • คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ กลุ่มภูมิศาสตร์ — 15 คน
    • สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ กลุ่มภูมิสารสนเทศศาสตร์ — 20 คน
    • คณะการจัดการและการท่องเที่ยว (ภาคปกติ)
    • หลักสูตรบัญชีบัณฑิต — 20 คน
    • สาขาวิชาการตลาด — 20 คน
    • สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ — 20 คน
    • สาขาวิชาการเงิน — 20 คน
    • สาขาวิชาการจัดการ — 20 คน
    • สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ — 20 คน
  • คณะการจัดการและการท่องเที่ยว (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว — 20 คน
    • สาขาวิชาการจัดการการโรงแรม — 20 คน
  • คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
    • (ภาคปกติ)
      • สาขาวิชาการบริหารทั่วไป — 12 คน
      • หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต — 50 คน
      • หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต — 12 คน
    • (ภาคพิเศษ)
      • สาขาวิชาการบริหารทั่วไป — 15 คน
      • หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต — 15 คน
      • หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต — 12 คน
  • คณะวิทยาการสารสนเทศ (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 60 คน
    • สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 140 คน
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 60 คน
  • คณะวิศวกรรมศาสตร์
    • (ภาคปกติ)
      • สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ— 20 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี — 25 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล — 25 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า — 35 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา — 20 คน
    • (ภาคพิเศษ)
      • สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ— 15 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี — 15 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล — 15 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า — 15 คน
      • สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา — 15 คน
  • คณะสาธารณสุขศาสตร์ (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาสุขศาสตร์รุตสาหกรรมและความปลอดภัย — 20 คน
    • สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม — 30 คน
    • สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ — 20 คน
    • สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน (หลักสูตรเหมาจ่าย) — 20 คน
  • คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาจิตรกรรม — 5 คน
    • สาขาวิชากราฟิกอาร์ต และกราฟิกมีเดีย (วิชาเอกกราฟิกอาร์ต) — 5 คน
    • สาขาวิชากราฟิกอาร์ต และกราฟิกมีเดีย (วิชาเอกกราฟิกมีเดีย) — 5 คน
    • สาขาวิชานิเทศศิลป์ (วิชาเอกคอมพิวเตอร์กราฟิก) — 5 คน
    • สาขาวิชานิเทศศิลป์ (วิชาเอกออกแบบกราฟิกและโฆษณา) — 5 คน
    • สาขาวิชานิเทศศิลป์ (วิชาเอกโทรทัศน์และดิจิตอลมีเดีย) — 5 คน
    • สาขาวิชาออกแบบเซรามิกส์ — 5 คน
    • สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ — 5 คน
    • สาขาวิชาดนตรีและการแสดง (วิชาเอกดนตรีไทย) — 5 คน
    • สาขาวิชาดนตรีและการแสดง (วิชาเอกดนตรีสากล) — 5 คน
    • สาขาวิชาดนตรีและการแสดง (วิชาเอกนาฏศิลป์และการกำกับลีลา) — 5 คน
    • สาขาวิชาดนตรีและการแสดง (วิชาเอกศิลปะการแสดง) — 5 คน
  • คณะศึกษาศาสตร์
    • (ภาคปกติ) หลักสูตร 5 ปี (เรียนเป็นภาษาไทย)
      • สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ — 8 คน
      • สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 4 คน
      • สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (แผนการเรียนศิลป์) — 4 คน
      • สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (รับเฉพาะผู้ที่มีพื้นฐานภาษาจีนแล้วเท่านั้น) (เรียนในประเทศไทยและประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน) — 16 คน
      • สาขาวิชาการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 8 คน
      • สาขาวิชาการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา (แผนการเรียนศิลป์) — 8 คน
      • สาขาวิชาการสอนศิลปะ (รับเฉพาะผู้ที่มีพื้นฐานทางด้านศิลปะ) — 8 คน
      • สาขาวิชาการสอนนาฏยสังคีต (รับเฉพาะผู้ที่มีพื้นฐานทางด้านดนตรีไทย) — 8 คน
    • (ภาคปกติ) หลักสูตร 4 ปี (เรียนเป็นภาษาไทย)
      • สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 10 คน
      • สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (แผนการเรียนศิลป์) — 10 คน
    • โครงการผลิตครูที่มีศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน (International Teacher Program) (หลักสูตร 2 ปริญญา) (ภาคปกติ) (เรียนเป็นภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร) เรียนทั้งในประเทศไทย และประเทศสหรัฐอเมริกา
      • สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ — 3 คน
      • สาขาวิชาการสอนเคมี — 3 คน
      • สาขาวิชาการสอนชีววิทยา — 3 คน
      • สาขาวิชาการสอนฟิสิกส์ — 3 คน
    • (ภาคพิเศษ) หลักสูตร 4 ปี (เรียนเป็นภาษาไทย)
      • สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 10 คน
      • สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (แผนการเรียนศิลป์) — 10 คน
  • คณะโลจิสติกส์
    • (ภาคปกติ)
      • สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ — 12 คน
      • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 14 คน
      • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนศิลป์-คำนวณ) — 10 คน
      • สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 14 คน
      • สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี (แผนการเรียนศิลป์-คำนวณ) — 10 คน
      • สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 14 คน
      • สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนศิลป์-คำนวณ) — 10 คน
    • (ภาคพิเศษ)
      • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 14 คน
      • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนศิลป์-คำนวณ) — 10 คน
      • สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 14 คน
      • สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี (แผนการเรียนศิลป็-คำนวณ) — 10 คน
      • สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 14 คน
      • สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ (แผนการเรียนศิลป์-คำนวณ) — 10 คน
  • คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์) — 3 คน
    • สาขาวิชาสื่อสารมวลชนทางกีฬา — 2 คน
    • สาขาวิชากีฬาศึกษาและบริหารจัดการกีฬา — 3 คน
  • วิทยาลัยนานาชาติ (ภาคปกติ)
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิชาการตลาด — 10 คน
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการ — 10 คน
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ — 30 คน
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิชาการเงิน — 5 คน
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ — 40 คน
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการการท่องเที่ยวนานาชาติ — 10 คน
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการโรงแรมนานาชาติ — 10 คน
    • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต กลุ่มวิชาทักษะการติดต่อสื่อสาร เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ — 8 คน
    • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต กลุ่มวิชาการติดต่อสื่อสารเชิงธุรกิจ — 7 คน
    • หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศิลป์และการออกแบบ — 5 คน
  • คณะสหเวชศาสตร์ (ภาคปกติ)
    • สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ — 25 คน
    • หลักสูตรกายภาพบำบัดบัณฑิต (หลักสูตรเหมาจ่าย) — 25 คน
    • สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (หลักสูตรเหมาจ่าย) — 10 คน
    • สาขาวิชาพยาธิวิทยากายวิภาค (หลักสูตรเหมาจ่าย) — 10 คน
  • คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ (ภาคปกติ) (วิทยาเขตจันทบุรี)
    • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต — 70 คน
    • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน — 40 คน
    • สาขาวิชาระบบสารสนเทศ — 40 คน
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ — 70 คน
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ด้านพืช) — 30 คน
  • คณะเทคโนโลยีทางทะเล (ภาคปกติ) (วิทยาเขตจันทบุรี)
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีทางทะเล — 80 คน
  • คณะอัญมณี (ภาคปกติ) (วิทยาเขตจันทบุรี)
    • สาขาวิชาอัญมณีและเครื่องประดับ — 40 คน
    • สาขาวิชาธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ — 40 คน
    • สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับ — 60 คน
  • คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ภาคปกติ) (วิทยาเขตสระแก้ว)
    • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ — 40 คน
    • สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ — 60 คน
    • สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน — 60 คน
    • สาขาวิชาการบริหารทั่วไป — 80 คน
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ — 40 คน
    • สาขาวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม — 40 คน
  • คณะเทคโนโลยีการเกษตร (ภาคปกติ) (วิทยาเขตสระแก้ว)
    • สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ — 120 คน
    • สาขาวิชาเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ — 80 คน
  • โครงการจัดตั้ง “คณะพาณิชยศาสตร์และบริหารธุรกิจ” (ภาคปกติ) (วิทยาเขตสระแก้ว)
    • สาขาวิชาการจัดการ กลุ่มวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป — 80 คน
    • สาขาวิชาการจัดการ กลุ่มวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ — 80 คน
    • สาขาวิชาการจัดการ กลุ่มวิชาการตลาด — 80 คน

คุณสมบัติ

  • กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในภาคตะวันออกและพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเล ตะวันออกระยะที่ 2 จำนวน 12 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา ระยอง ลพบุรี สมุทรปราการ สระแก้ว และสระบุรี (ไม่รับผู้สมัครวุฒิเทียบเท่า)
  • จะต้องไม่เป็นผู้ที่รายงานตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตชองมหาวิทยาลัยบูรพา รหัสนิสิต 57 ในการสมัคร คัดเลือกครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 หากประสงค์จะสมัครคัดเลือก จะต้องลาออกจากการเป็นนิสิตก่อนทำการสมัคร
  • ผู้สมัครจะต้องมีผลคะแนน GPAX, GAT และ/หรือ PAT

จำนวนรับ

  • รวม 3,136 คน

วิธีสมัคร

  • สมัครผ่านเว็บไซต์ที่ http://regservice.buu.ac.th

เอกสารเพิ่มเติม

รับข่าวสารเพิ่มเติม

เว็บไซต์

อื่นๆ